วันจันทร์ที่ 27 สิงหาคม พ.ศ. 2550

City

เอา Idea มาจากไม้บรรทัดที่มีรูปทรงต่างๆบนไม้บรรทักและสามารถที่เราจะเอามาเป็นแบบวาดได้ค่ะ โดยการที่จะทำรูปทรงต่างๆกันบนไม้บรรทัดที่เป็นคนละอย่างกัน ประมาณ 3-4 อัน แต่เมื่อนำไม้บรรทักทั้ง 3-4 อันนี้มาวาดลงบนกระดาษก็จะได้เมืองมาหนึ่งเมือง ซึ่งไม้บรรทัดนี้ก็จะแบ่งเป็น 2 พวกใหญ่ คือ สิ่งมีชีวิต และสิ่งไม่มีชีวิต ซึ่งสิ่งมีชีวิตจะได้แก่ คน สัตว์เลี้ยง ต้นไม้ ส่วนสิ่งไม่มีชีวิตคือ ยานพาหะ อาคาร บ้านเรือน


Sequence







เส้นต่างๆ แสดงถึงอายุ หรือปีของต้นไม้ว่ากี่ปีแล้ว ส่วนความถี่ของเส้นนั้นจะเเสดงถึงความอุดมสมบูรณ์ในช่วงปีนั้นๆ หากเส้นมีความห่างกันมากเท่าไรก็ยิ่งอุดมสมบูรณ์มากเท่านั้น ส่วนยิ่งเส้นติดกันเท่าไรก็เป็นช่วงที่แร้งเท่านั้น โดยที่ตรงกลางของต้นนั้น Center จะเป็นอายุต้นๆของต้นไม้ ยิ่งวงกว้างเท่าไรอายุต้ยไม้ก็มากขึ้น

วันอาทิตย์ที่ 19 สิงหาคม พ.ศ. 2550

TiTa----Origami













































0rigami สนใจเรื่องการพับกระดาษ มองเห็นการเพิ่มขึ้นของพื้นที่ และรอยที่มีการพับเพิ่มขึ้นเหมือนกับเป็นการรวมใหม่เพื่อเกิดสิ่งใหม่ๆขึ้นมา จากกระดาษแผ่นเดิมสี่เหลี่ยมเิกิดรอยพับเพื่อแตกพื้นที่ออกไปอีกแล้วรวมเข้ากันใหม่กลายเป็นรูปทรงอื่นๆ

TiTa----Social





ลองเอาสังคมมาลองทำการซ้อนๆทับเป็นหลายๆ layer โดยที่แต่ละเเผ่นนั้นก็จะมีคนเพียงแค่คนเดียว เมื่อมาซ้อนทับกันหลายๆชั้นเข้าไปก็จะเกิดเป็นสังคมใหญ่ขึ้น และทำให้เห็นถึงว่ายิ่งคนไกลเท่าไรความสัมพันธ์นั้นก้จะไม่ใกล้ขิดมาก

วันศุกร์ที่ 17 สิงหาคม พ.ศ. 2550

TiTa

















Structure of Tree (TiTa Sequence)



จากที่กำหนดในเรื่องว่าเปรียบต้นไม้เป็นบ้านที่สัตว์อยู่ จึงไปหาสัตว์ที่ใช้เป็นแหล่งอาศัย โดยเห็นว่าเป็นการเพิ่มเข้าไปจากเดิม ซึ่งเป็นสิ่งมีชีวิตทั้งสองอย่างแต่ต่างกันด้วยสายพันธุ์ระหว่างสัตว์กับพืช โดยที่ทั้งสองก็มีความสัมพันธ์กัน เหมือนกับว่าเป็นการเพิ่มสีสันความมีชีวิตให้กับต้นไม้จากตรงนี้จะได้ว่าสัตว์นั้นจะพบได้ทั่วต้นไม้ โดยแบ่งได้ 3 ส่วน ส่วนบน กลาง และล่างของต้น และลิงค์ตำแหน่งของหน้าต่างๆด้วยตำแหน่งที่พบสัตว์นั้นๆ

วันพุธที่ 15 สิงหาคม พ.ศ. 2550

Test Sequence TiTa

ทำการทดลองกระดาษ
ทดลองทำดูว่ากระดาษแต่ละแบบจะให้ความรู้สึก มิติ ที่ต่างกัน หรือไม่เมื่อนำมาซ้อนกันเป็น layer
1.กระดาษธรรมดา
2.แผ่นพลาสติกใส
3.กระดาษไข

วันจันทร์ที่ 6 สิงหาคม พ.ศ. 2550

Test3.1_sound



เลือกที่จะเป็นผู้ช่วยของเพื่อนในงานติดตา

ที่คุยกันนั้น ได้ช่วยการลองคิดออกมาในหลายๆแบบ

แบบที่ 1 นั้นจะเป็นการนำเอาตัวอักษรคือ A-Z นั้นมาลองซ้อนทับกันให้เกิดเป็น Layer โดยการใช้แผ่นใสในการทดลองทำงานชิ้นนี้

แบบที่ 2 นั้นจะเป็นการเอาคำๆ นั้นมาสร้างเป็นภาพ ซึ่งมีความหมายตามนั้น โดยจะลองใช้ font position size ที่แตกต่างกันไป ดังเช่น คำว่า Cup นั้นจะมีส่วนประกอบเป็น C U และ P แล้วนำตัวอักษรทั้ง 3 ตัวนี้มาประกอบกันให้ดูเหมือนรูปถ้วยแก้ว

แบบที่ 3 ได้เอางานพวก graffti ลองมาทดลองดู โดยการที่เราจะลองนำเอาสิ่งของต่างๆที่มีอยู่จริงๆ เช่น ตู้โทรศัพท์ ถังขยะ เป็นต้น ลองนำมาเอาตามาใส่

Test3.2_sound



การติดตาในที่นี้เป็นการทดลองเอารูปหน้าที่วางตำแหน่งเดิมตลอด แล้วฉากหลังนั้นก็นำเอาสิ่งของต่างๆ ลองเอาหน้ามาทับจะเห็นว่าสิ่งของต่างๆนั้นจะดูมีความรู้สึกโดยหน้าตา โดยที่การทดลองชิ้นนี้นั้นจะอยู่ในรูปแบบของ Time Base Media เป็นการซ้อนทับ Layer ให้เกิดสิ่งใหม่